รวมเนื้อหาฟิสิกส์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก และสูตรที่ต้องจำขึ้นใจ

เมื่อถามว่าวิชาฟิสิกส์ บทเรียนไหนที่ทำให้น้อง ๆ เป็นกังวลมากที่สุด หนึ่งในนั้นต้องเป็นฟิสิกส์เรื่องสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าอย่างแน่นอน เพราะด้วยเนื้อหาที่ค่อนข้างเยอะ และมีสูตรที่ต้องจดจำ ทำให้น้อง ๆ อาจเครียดกับเนื้อหาได้ แต่ไม่ต้องกังวลใจไป เพราะบทความนี้จะมาสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ ว่าแต่ละบทต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง และมีสูตรไหนที่ควรจดจำให้ขึ้นใจ พร้อมยกตัวอย่างการนำไปใช้ เพื่อให้น้อง ๆ มีความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์เรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้ากันมากขึ้น หรือตัดสินใจในการหาคอร์สติวฟิสิกส์ ม.6 เพื่อเสริมความรู้ให้แน่นขึ้น และพร้อมพิชิตข้อสอบฟิสิกส์ในทุกสนามสอบอย่างมั่นใจ
Table of Content
- ฟิสิกส์แม่เหล็กและไฟฟ้า เรียนอะไรบ้าง ?
- แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก
- ประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
- ลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็ก
- สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า
- แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่มีกระแสไฟฟ้าไหล
- แรงกระทำต่อขดลวดที่อยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก
- กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
- หม้อแปลงไฟฟ้า
- การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นกระแสตรง
- ไฟฟ้ากระแสสลับ
- สรุปสูตรหลักการคำนวณฟิสิกส์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
- ตัวอย่างข้อสอบวิชาฟิสิกส์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ฟิสิกส์แม่เหล็กและไฟฟ้า เรียนอะไรบ้าง ?
ฟิสิกส์แม่เหล็กไฟฟ้า เป็นเนื้อหาที่ต้องเรียนในชั้น ม.6 โดยสรุปได้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสนามแม่เหล็ก ประจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับทั้งสนามแม่เหล็กและไฟฟ้า โดยประกอบด้วยหัวข้อหลัก ๆ ดังนี้
1. แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก
- แม่เหล็ก
- ฟลักซ์แม่เหล็ก
- สนามแม่เหล็ก
- สนามแม่เหล็กโลก
- แรงที่กระทำกับประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
- การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
4. สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า
- สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ
- สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าในขดลวดโซลินอยย์
6. แรงกระทำต่อขดลวดที่อยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก
7. กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
- กฎเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์
- กฎของเลนซ์ (Len’s laws)
- การหาทิศกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
- หม้อแปลงไฟฟ้า
- สมการที่ใช้ในการคำนวณ
- ไดโอด
- วงจรที่ใช้ในการแปลงกระแสสลับเป็นกระแสตรง
- วงจรกรองกระแส
- ไฟฟ้ากระแสสลับ ประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ, แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระแสสลับกับเวลา และค่ายังผล หรือ ค่า R.M.S. ของไฟฟ้ากระแสสลับ
- ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สรุปสูตรหลักการคำนวณฟิสิกส์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
หลักการดูขั้วแม่เหล็กไฟฟ้า
หลัก Oersted
หลัก Faraday (เครื่องปั่นไฟ, การเกิด I เหนี่ยวนำ)
หลัก Lenz (ใช้ทิศ I เหนี่ยวนำ)
แรงกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
แรงที่กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก
แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านและวางตัวขนานกัน
โมเมนต์คู่ควบของขดลวด

ตัวอย่างข้อสอบวิชาฟิสิกส์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
1.อนุภาคอิเล็กตรอน (ประจุ = -1.6 x 10-19 คูลอมบ์) ถูกยิงอย่างตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กที่มีความเข้ม 10 เทสลา ด้วยความเร็ว 3 x 107 เมตร/วินาที ในทิศทาง (+ X) ดังรูป ขนาดและทิศทางของแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กเป็นตามข้อใดวิธีคำนวณ
คำตอบ 4.8 x 10-11 นิวตัน, ทิศ (- Y)
วิธีคำนวณ
คำตอบ ขนานกับสนามแม่เหล็ก
3. ลวดทองแดงยาว 0.5 เมตร มวล 0.02 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวระดับด้วยลวดตัวนำเบาในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาด 3.6 เทสลา ทิศตั้งฉากกับลวดดังรูป ขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ทำให้เกิดแรงยกบนลวดเท่ากับน้ำหนักของลวดเองเป็นเท่าใด
วิธีคำนวณ
คำตอบ 0.11 A
4. ลวดเส้นหนึ่งยาว 1 เมตร มีกระแสไฟฟ้าไหล 5 แอมแปร์ ถ้านำลวดเส้นที่สอง ยาว 20 เซนติเมตร มีกระแสไหล 2 แอมแปร์ มาวางไว้ขนานและห่างลวดเส้นแรก 5 เซนติเมตร จะทำให้เกิดแรงจากลวดเส้นที่หนึ่งกระทำกับลวดเส้นที่สองอย่างไร
วิธีคำนวณ
คำตอบ ดึงขึ้นด้านบนด้วยขนาด 8.0 x 10-6 นิวตัน
วิธีคำนวณ
คำตอบ 40 A และ 50 V
นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของโจทย์และวิธีคำนวณวิชาฟิสิกส์และแม่เหล็กไฟฟ้า ม.6 ที่พี่ ๆ รวมมาสรุปให้รู้กัน และสำหรับน้อง ๆ ที่ต้องการติวฟิสิกส์ ไฟฟ้าและแม่เหล็ก เสริมความรู้ ปูพื้นฐานให้แม่นยำ เลือกคอร์สติวฟิสิกส์ AP37 PACK ติวฟิสิกส์ กลุ่มไฟฟ้า ที่สรุปเนื้อหาอย่างครบถ้วน พร้อมสูตรและวิธีการนำไปใช้ จาก Applied Physics เลย
หากต้องการสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับคอร์สเรียน สามารถโทรมาได้ที่ 02-3060867, 02-3060868, 02-3060869 และ 085-4925599 หรือแอดไลน์ @appliedphysics (มี @ ด้วย)